วิธีการวิเคราะห์ทางเลือกในการจัดหาเงินทุน

วิธีการวิเคราะห์ทางเลือกในการจัดหาเงินทุน

 แหล่งเงินทุนระยะยาวที่สำคัญของธุรกิจ ได้แก่ การกู้ยืมหนี้ระยะยาว การออกหุ้นบุริมสิทธิ และ การออกหุ้นสามัญ นอกจากจะคำนึงถึงต้นทุนของเงินทุนและความเสี่ยงทางการเงินจะต้องจัดหาเงินทุนจากแหล่งเงินทุน ต้องวิเคราะห์ทางเลือกในการจัดหาเงินทุนแต่ละทางก่อนและทางเลือกที่ทำให้ได้กำไรต่อหุ้นสามัญมีค่าสูงสุด การวิเคราะห์ทางเลือกในการจัดหาเงินทุน กรณีที่มีหลายทางเลือกนั้นวิธีหนึ่งที่สามารถทำได้สะดวกขึ้น คือวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกำไร จากการดำเนินงานกับกำไรต่อหุ้น (EBIT-EPS Analysis) โดยมีขั้นตอนดังนี้

ขั้นที่ 1 คำนวณหา EPS ณ ระดับ EBIT ต่างๆกันอย่างน้อย 2 ระดับ

ขั้นที่ 2 วิเคราะห์ Indifference Point  คือ การวิเคราะห์ หาจุดที่ไม่มีความแตกต่างกัน ของทางเลือกในการจัด หาเงินที่ต้องการเปรียบเทียบ ซึ่งสามารถทำได้ 2 วิธี คือเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ ระหว่าง EPS และ EBIT เรียกว่าIndifference Chart Indifference Point หรือ โดยวิธีคำนวณหาจุด indifference Point ของทางเลือกนั้น

ขั้นที่ 3 แปลความหมายที่ได้จากขั้นที่ 2 เพื่อตัดสินใจเลือกแหล่งเงินทุนต่อไป


ตัวอย่างที่ 2 โครงสร้างเงินทุนของบริษัทส่งเสริมจำกัดประกอบด้วย ทุนหุ้นสามัญจดทะเบียน 10,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ถ้าบริษัทต้องการเงินทุนเพิ่มอีก 300,000 บาท เพื่อขยายกิจการ ซึ่งได้คาดคะเนทางเลือกในการจัดหาเงินทุนดังกล่าวไว้ 3 ทาง คือ
                ทางเลือกที่ 1 ก่อหนี้อัตราดอกเบี้ย 12%
                ทางเลือกที่ 2 ออกหุ้นบุริมสิทธิเงินปันผล 10%
                ทางเลือกที่ 3 ออกหุ้นสามัญราคามันค่าหุ้นละ 100 บาท 
ปัจจุบัน บริษัทเสียค่าภาษีเงินได้ในอัตรา 30% บริษัทควรจัดหาเงินทุนด้วยวิธีใดถ้าบริษัทมีกำไรจากการดำเนินงาน 100,000 บาท 150,000 บาทและ 200,000 บาทตามลำดับ





วิธีทำ
             ขั้นที่ 1 สมมุติ EBIT 100,000 บาท และ150,000 บาท คำนวณ EPS ของทั้ง 3 ทางเลือกในระดับ EBIT 100,000 บาทและ 100,000 บาทดังนี้




















   
ขั้นที่ 2 เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง EBIT และ EPS ของทั้งสามทางเลือก




                                            ความสัมพันธ์ระหว่าง  EBIT   และ  EPS


การคำนวณหาค่า EBIT ณ Indifference   point 
ให้             EPS1           เป็นกำลังต่อหุ้นสามัญทางเลือกที่ 1
                 EPS2       เป็นกำลังต่อหุ้นสามัญทางเลือกที่ 2
                 EPS3       เป็นกำลังต่อหุ้นสามัญทางเลือกที่ 3
                  n           เป็น จำนวนหุ้นสามัญทางเลือกที่ 1 
                  n2            เป็นจำนวนหุ้นสามัญทางเลือกที่ 2 
                  n3            เป็นจำนวนหุ้นสามัญทั้งเรื่องที่ 3
                   I             เป็นดอกเบี้ยของหนี้สินหรือเงินปันผลจ่ายของหุ้นบุริมสิทธิก่อนภาษี 
                  T             เป็นอัตราภาษีเงินได้ 
                 EBIT*       เป็นกำ ไหลจากการดำเนินงาน   ณ  Indifference   point
จากกราฟ   เส้นทางเลือกก่อหนี้ กับเส้นทางเลือกออกหุ้นบุริมสิทธิขนานกัน
                ดังนั้นทางเลือกที่ 1 กับทางเลือกที่ 2 จะไม่มี Indifference   point 
                นั้นคือ            EPS_1≠ EPS_2


จากกราฟ  เส้นทางเลือกก่อหนี้กับเส้นทางเลือก ออกหุ้นสามัญตัดกันที่จุด a ซึ่ง ณ จุดนี้ค่า EPS ของทั้ง 2 ทางเลือกเท่ากัน ดังนั้น คำนวณค่า Indifference   point  ของทางเลือกที่ 1 กับทางเลือกที่ 3 ได้ดังนี้
ณ Indifference   point   A จะได้     EPS_1   =   EPS_3

                                 ( EBIT* -I)(1-T)          =      ( EBIT* -I)(1-T)
                                          10,000                              13,000
                                                            
                13,000(0.7 EBIT* -   25,000)     =       10,000(0.7 EBIT* )

                          9,100 EBIT*  - 327,600   =        7,000 EBIT*
    
                                         EBIT*               =        156,000

ดังนั้น ณ Indifference  point  A ระหว่างทางเลือกที่ 1 และทางเลือกที่ 3 EBIT มีค่าเท่ากับ 
156,000 บาท

จากกราฟ เส้นทางเลือกออกหุ้นบุริมสิทธิกับเส้นทางเลือกออกหุ้นสามัญตัดกันที่จุด B ซึ่ง ณ จุดนี้ค่า EPS ของทั้งสอง ทางเลือกมีค่า EPS เท่ากัน คำนวณ Indifference   point    ของทางเลือกที่ 2 กับทางเลือกที่ 3 ดังนี้

ณ Indifference   point   B  จะได้          EPS2 = EPS3


                                         (EBIT*-I)(1-t)            =       (EBIT* -I)(1-T)
                                                   n2                                      n

                  (EBIT* -42,857.14286)(1-0.3)        =        (EBIT* -0 )(1-0.3)
                            10,000                                                   13,000

                    13,000(0.7EBIT* - 30,000)           =       10,000 (0.7EBIT*)
        
                   9,100 EBIT* - 390,000,000           =       7,000 EBIT*
                                      
                                                    EBIT*           =        185,714.30

ดังนั้น ณ Indifference   point   B  ของทางเลือกที่ 2 กับทางเลือกที่ 3  EBIT มีค่าเท่ากับ 185,714.30 บาท

               จุด Indifference   point   A แสดงให้เห็นว่า ถ้าบริษัทสามารถทำกำไรจากการดำเนินงานได้ ถึงระดับ 156,000 บาท การจัดหาเงินทุนไม่ว่าจะใช้เงินกู้หนี้ระยะยาวหรือใช้วิธีออกหุ้นสามัญ จะทำให้ได้กำไรไม่แตกต่างกัน แต่ถ้าบริษัทสามารถทำกำไรจากการดำเนินงานได้สูงกว่า 156,000 บาท ก็ควรหาเงินทุนโดยวิธีการก่อหนี้เพื่อทำให้ค่า EPS ที่สูงกว่า
               จุด Indifference   point   B แสดงให้เห็นว่า ถ้าบริษัทสามารถทำกำไรจากการดำเนินงานได้ถึงระดับ 185,000 714.30 บาท การจัดหาเงินทุนไม่ว่าจะใช้วิธีการออกหุ้นบุริมสิทธิหรือใช้วิธีออกหุ้นสามัญ จะทำให้กำไรไม่แตกต่างกัน แต่ถ้าบริษัททำมาทำกำไรจากการดำเนินงานได้สูงกว่า 185,714.30 บาท ก็ควรหาเงินทุนโดยวิธีการออกหุ้นบุริมสิทธิเพราะจะทำให้ค่า EPS ที่สูงกว่า 
               จากตารางและกราฟ เห็นได้ว่าถ้าบริษัทมีกำไรจากการดำเนินงานเท่าเดิมคือ 100,000 บาท หรือมีกำไรจากการดำเนินงาน 100,000 บาทซึ่งต่ำกว่าจุด บริษัทควรจัดหาเงินทุนเพิ่ม วิธีการออกหุ้นสามัญเพื่อจะทำให้ได้กำไรต่อหุ้น EPS สูตร แต่ถ้าบริษัทสามารถทำกำไร จากการดำเนินงานได้สูงถึง 200,000 บาทก็ควรจัดหาเงินทุนเพิ่มด้วยวิธีก่อหนี้เธอทำให้ได้กำไรสูงสุด





ที่มา : เพ็ญพิมล ลีโนทัย การเงินธุรกิจ.--กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้้ล เอ็ดดูเคชั่น, 2558. 245 หน้า

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น